มหัศจรรย์สมุนไพรไทย ฤทธิ์ต้านการอักเสบ เพื่อเข่า ทุกก้าวที่เดิน
สุดยอดสมุนไพร : ขิง
- ลดการปวดเมื่อยเรื้อรัง การหดเกร็งของกล้ามเนื้อได้ดี
- ยับยั้งอาการปวด อักเสบของข้อต่อ
- ส่งเสริมการไหลเวียนโลหิต กระจายให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น สบายขึ้น
- กลไกเสริมสร้างคอลลาเจนสูง ต้านการอักเสบภายใต้ผิวหนังชั้นลึก
ทำไม NANOPI เซลล์จิ๋วแท้ 1 เดียว จึงเป็นทางเลือกที่ดีกว่า !?
- สมุนไพรจะเกิดผลลัพธ์ ต้องผ่านกรรมวิธีการสกัดด้วยเทคนิคเฉพาะ
- มีการควบคุมการ ผลิตที่มีมาตรฐาน
- ส่วนผสมต้อง มาจากแหล่งที่ดีที่สุด
- มีกลไกต้านการอักเสบ ได้มากถึง 80 เปอร์เซนต์
- การกักเก็บสมุนไพรที่ ปลอดสารปนเปื้อน และนำส่งลึกสู่ใต้ชั้นผิวถึงจุด สาเหตุ ต้นตอ ด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ
ต่อให้เป็นสมุนไพรตัวเดียวกัน แต่สกัดคนละแบบก็อาจเปลี่ยนผลลัพธ์ได้ !!
บทคัดย่องานวิจัยขิง
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/25923459/
สมุนไพรแก้ปวดเข่า ข้อเข่าอักเสบ ปวดหัวเข่า สมุนไพรแก้ปวดข้อเข่า รักษาอาการปวดหัวเข่า ข้อเข่าเสื่อม อักเสบ รักษาเอ็นเข่าอักเสบ เอ็นข้อพับหัวเข่าอักเสบ สมุนไพรรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม
สูตรตำรับเฉพาะโดยหมออรรถวุฒิ
ราคาโปรโมชั่นก่อนจะหมดเวลา !!
สั่งซื้อผ่านเว็บไซต์ได้ทันที
สุดยอดสมุนไพร : ฝาง
- ช่วยลดต้นตอการอักเสบสูง และลดสาเหตุการกดทับของกล้ามเนื้อ
- ช่วยทำให้เลือดไหลเวียนสะดวก ตัวเบาสบาย ตัวโล่ง แก้เลือดอุดตัน
- ลดบวม ฟกชํ้าดำเขียว ชํ้าเลือด ชํ้าใน ให้หายเร็วขึ้น
บทคัดย่องานวิจัยฝาง
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8960501/
กินคอลลาเจน 5 ปีไม่เคยหาย ยิ่งกินยิ่งปวดเข่า
แต่การฟื้นฟูถูกจุด กลับเดินได้เหมือนเดิม !!
ไม่ใช่แค่หายปวดชั่วคราว แต่ฟื้นฟู และกระตุ้นเซลล์ใหม่
เถาวัลย์เปรียงแดง และ เถาวัลย์เปรียงขาว สกัดเข้มข้น Derris Scandens Benth (Red) extract (เทคนิคการสกัดจากวัตุดิบคุณภาพ ที่ได้สารสําคัญ มากที่สุด)
(เถาวัลย์เปรียงพันธุ์สีแดง หายากมาก พบมากที่ จ.นครราชสีมา และ เป็นแหล่ง ปลูกที่มีสารสําคัญมากที่สุด ส่วนใหญ่ใช้ชนิดสีขาวอย่างเดียว เพราะหาได้ง่ายกว่า เมื่อใช้ทั้ง2สายพันธุ์ แดง และ ขาว จะทําให้ออกฤทธิ์ได้ชัดเจนและครบถ้วนยิ่งขึ้น
- ลดปวด อักเสบ ของกล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก เส้นเอ็น แบบเฉียบพลัน และ เรื้อรัง
- ทําให้เส้นเอ็น ผังผืด อ่อนและหย่อนดี เหมาะสําหรับเส้นเอ็นขอด เส้นเอ็นพิการ
- แก้ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ เหมาะสําหรับโรค ข้อเข่าเสื่อม แก้
- อักเสบเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ แก้เหน็บชา แก้อาการชาปลายมือปลายเท้า
- เหมาะสําหรับโรคอัมพฤกษ์และกระดูกหัก
โดโม่รู้ล้ม สกัด Elephantopus Scaber L extract
- ทําเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ ไขข้อ ให้แข็งแรง ยืดหยุ่นได้ดี บํารุงกําลังแก้ปวดเมื่อยล้า
- แก้ปวดบวม แก้ช้ำใน
- ทําให้ร่างกายสร้างน้ําขข้อ สร้างคอลลาเจนใต้ไขข้อ
ทองพันชั่งดอกเหลือง สกัด Rhinacanthus nasutus (L) Kurz extract.
- แก้อาการช้ําใน ถอนพิษ แก้กษัย ฟอกปัสสาวะ แก้ปัสสวะผิดปกติ ล้างน้ําเหลืองเสีย
- แก้อาการเคล็ดขัดยอกตามชายโครง คอเคล็ด มือเคล็ด
กําแพงเจ็ดชั้น สกัด Salacia chinensis Lextrat
- บํารุงโลหิต บํารุงกําลัง ลมอัมพฤกษ์ แก้เส้นเอ็นอักเสบ
- แก้อาการปวดตามข้อ ข้อเสื่อม
เถาโคคลาน สกัด Anamirta cocculus (Linne) extract.
- แก้อาการปวดเมื่อย บํารุงโลหิต
กําลังวัวเกลิง สกัด Artabotrys harmandi Tinet & Gagnep extract
- บํารุงกําลัง แก้กระษัย (กล้ามเนื้อเสื่อม เส้นเสื่อม) ทํากล้ามเนื้อ เส้นเย็น ให้ยืดหยุ่นเหนียว แข็งแรง และตัวยาอื่นๆ
วิธีรับประทาน
ครั้งละ 2 แคปซูล ก่อนอาหาร 1 ชม. เช้า เที่ยง เย็น ทั้ง 2 ตัวทานเหมือนกัน พร้อมกัน คือ อย่างละ 2 แคปซูล ก่อนอาหาร เช้า เที่ยง เย็น
หากลืมทานก่อนอาหาร สามารถ ทานหลังอาหาร 2 ชม.ได้ มื้อไหนไม่ได้ทานข้าว ก็ให้ทานยาไปเลย เนื่องจาก สมุนไพร ออกฤทธิ์ดี ตอนท้องว่าง
หากไม่มีเวลา สามารถ ทาน ครั้งละ 3 แคปซูล วันละ 2 ครั้งได้ เหล้า เบียร์
ทานร่วมกับยาได้ แต่ควรทานนิดหน่อยเพราะ จะทําให้โรค กําเริบ แต่ถ้าจําเป็น ก็ทานได้ ไม่เป็นไร
ของหมักดอง ขนมจีน ปราร้า หน่อไม้ ของรสจัด เค็มจัด ผงชูรส มีส่วน ทําให้โรคก้าเริบ และ หายช้า
ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
ปัสสาวะบ่อยขึ้น ซึ่งเป็นปกติ เพราะ ยาไปยับของเสีย ขับปัสสาว: ไม่ต้องตกใจ
อาจมีอาการรู้สึกถึงอาการเลือดเดินไหลเวียนได้มากขึ้น เนื่องจาก ช่วงแรก ยาจะไป ไล่เส้น ขับพิษในเส้นก่อน และ ฟื้นฟูเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ และ หายจากอาหาร ชา เมื่อ เริ่มหาย ชา ก็จะเริ่มรู้สึกปวดได้บ้าง ซึ่งเป็นปกติ ให้ทานยาต่อไปเลย
เทคนิค สมุนไพรสกัดพิเศษ 2 ชั้น ( aq2layers ) ที่มีที่นี่แห่งเดียวเท่านั้น
1 เดียว ไม่มีผลต่อตับไต วัดผลได้
สุดยอดสมุนไพร : เถาวัลย์เปรียง
- ลดอาการปวดสูง และอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก เส้นเอ็นเฉียบพลันและเรื้อรัง
- ทำให้เส้นเอ็นผังผืดอ่อนและหย่อนได้ดี เหมาะสำหรับเส้นเอ็นขอด เส้นเอ็นพิการ
- แก้ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว ปวดข้อ เหมาะสำหรับโรคข้อเข่าเสื่อม
สุดยอดสมุนไพร : โด่ไม่รู้ล้ม
- ฟื้นฟูเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ ไขข้อให้แข็งแรง ยืดหยุ่นได้ดี บำรุงแก้ปวดเมื่อยล้า
- ขับนํ้าเหลืองเสีย แก้กษัยเส้น ส่งเสริมระบบหมุนเวียนโลหิต
- ส่งเสริมการซ่อมเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสูง แก้ปวดบวม แก้ชํ้าใน
- ลดต้นตอไขข้อแห้ง สร้างคอลลาเจนใต้ไขข้อ ส่งเสริม ข้อเข่าเคลื่อนไหวอิสระ
บทคัดย่องานวิจัยโด่ไม่รู้ล้ม
https://www.sysrevpharm.org/articles/
สุดยอดสมุนไพร : ขมิ้นชัน
- เร่งสมานแผล การอักเสบที่ข้อเข่า
- ลดการอักเสบ ไขข้อเสื่อม
- สาร curcuminiodes ช่วยลดอาการปวด อักเสบ บริเวณข้อเข่า
บทคัดย่องานวิจัยขมิ้นชัน
https://www.researchgate.net/figure/6-Gingerol-stimulated-collagen-synthesis-in-MG-63-cells-treated-without-A-or-with-B_fig3_275660868
อึดอัด ! ทุกการรักษา ไม่ใช่ทางออกที่ดี สำหรับข้อเข่า
สูตรตำรับเฉพาะโดยหมออรรถวุฒิ
ราคาโปรโมชั่นก่อนจะหมดเวลา !!
Reference
1. Bamgbose S.O.A, Noamesi B.K., (1981): Studies on cryptolepine inhibition of carrageenan – induced oedema. Planta medica 42, 392 – 396.
2. akano K, Kawanishi S. Metal-mediated DNA damage induced by curcumin in the presence of human cytochrome p450 isozymes. Arch Biochem Biophys
2002;405:223-230.
3. Naranjan Reddy VL, Ravikanth V, Jansi Lakshmi VVNS, Suryanarayan Murty U, Venkateswarlu Y. 2003. Inhibitory activity of homoisoflavonoids from
Caesalpinia sappan against Beuveria bassiana. Fitoterapia 74(6): 600–602.
4. Muanwongyathi P, Supatwanich P. Pharmacognostic study of Derris scandens Benth. Mahidol Univ J Pharm Sci 1981;8: 57–64
5. Anitha VT, Antonisamy JM, Jeeva S. 2012. Anti-bacterial studies on Hemigraphis colorata (Blume) H.G. Hallier and Elephantopus scaber L. Asian Pac J
Trop Med. 2012:52–57.
6. Panthong A, Kanjanapothi D, Niwatananun V, Tuntiwachwuttikul P, Reutrakul V. Anti-inflammatory activity of compounds isolated from Zingiber cassumnar.
Planta Med. 1990;56(6):655.
7. ari T, Hirata M, Matsumoto C, Inada M, Miyaura C. Polymethoxy flavonoids, nobiletin and tangeretin, prevent lipopolysaccharide-induced inflammatory bone
loss in an experimental model for periodontitis. J. Pharmacol. Sci. 2012;119:390–394.
8. E. Lubberts and W. B. van den Berg, “Cytokines in the pathogenesis of rheumatoid arthritis and collagen-induced arthritis, ” Advances in Experimental
Medicine and Biology, vol. 52, pp. 194– 202, 2003.
9. Yamamoto H, Hanada K, Kawasaki K, Nishijima M. Inhibitory effect of curcumin on mammalian Phospholipase D activity. FEBS Lett 1997;417:196–198.
10. Kuptniratsaikul V, Tosayanonda O, Nilkanuwong S, Thamlikitkul V. The epidemiology of knee osteoarthritis patients. J Med Assoc Thai 2002;85:154–161.
11. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7902102/
12. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16770527/
13. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19691935/
14. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/PRRJ_Scitech/article/download/118978/149876/685467
15. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/anres/article/download/249302/170426